ศิลปวัฒนธรรม ท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ Thailand > เรื่องทั่วๆไปที่คนไทยควรรู้ >
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ตามหา เครื่องสูบน้ำ ที่ทางรัฐบาลจีนและญี่ปุ่น บริจาคเพื่อช่วยเหลือน้ำท่วมไทย ?
ข่าวการให้ความช่วยเหลือต่อประเทศไทย กับสถานการณ์มหาอุทกภัย ซึ่งกินเวลามาเกือบจะสองเดือน
โดยความช่วยเหลือที่ปรากฏออกมาในลักษณะการบริจาคสิ่งเพื่ออำนวยความสะดวกกับผู้ประสบภัย เช่น เรือ ถุงทราย เครื่องกรองน้ำ ไฟฉายพลังงานแสงอาทิตย์ เต้นท์ และที่สำคัญที่สุดคือ “เครื่องสูบน้ำ”
นายจุมพล สำเภาพล รองปลัด กทม. ได้กล่าวสรุปถึงความช่วยเหลือของจีน ดังนี้ รัฐบาลจีนบริจาคเครื่องสูบน้ำรวมทั้งหมด 510 เครื่อง โดยแบ่งเป็นให้ กทม.โดยตรง 255 เครื่อง และมอบให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีก 255 เครื่อง ซึ่งกรมทรัพยากรฯ จะมอบเครื่องสูบน้ำทั้งหมดให้แก่ กทม.
จากข้อมูลที่ปรากฏ คือ การให้บริจาคในชุดแรกของจีนนั้น ทางรัฐบาลไทยได้รับแล้ว โดยวันที่ 22 ต.ค. 54 นาย ยงยุทธ วิชัยดิษฐ รองนายกฯ เป็นผู้รับมอบ จากฯพณฯ ก่วนมู่ เอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทย
ในกรณีนี้ เริ่มทำให้หลายคนตั้งคำถาม และอดสงสัยไม่ได้ว่า เครื่องสูบน้ำในชุดแรกที่ทางรัฐบาลไทยได้รับบริจาคนั้น นั้นถูกนำไปใช้อย่างไรบ้าง ? ทำไม ไม่มีการชี้แจงให้ ปชช. รับทราบบ้างเลย
ผมเห็นตลอดว่าหน่วยงานอย่าง กรมสารนิเทศ ของกระทรวงต่างประเทศ ชอบสรุปข้อมูล จากความช่วยเหลือจากต่างประเทศ และไฉน จึงไม่ชี้แจงให้ ปชช. รับทราบบ้างละ ?
มันหายไปไหนเอ่ย “เครื่องสูบน้ำ”
ผมว่าข้อมูลกำลังทำให้เราสับสน ตัวอย่างเช่น ในการรับบริจาคของญี่ปุ่น ซึ่งได้ให้การบริจาคไว้ในช่วงหลัง คือช่วงต้นเดือน พ.ย. นี้ ตามข้อมูลคือ
โดยทางญี่ปุ่น ได้บริจาคให้ทางรัฐบาลไทย เมื่อวันที่ 5 พ.ย. 54 โดยนายเคียวอิชิ ซึชิมา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของญี่ปุ่น ร่วมในพิธีส่งมอบเครื่องสูบน้ำ 10 เครื่อง ให้กับ ทางการไทย มี นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล เอกอัครราชทูตไทยประจำญี่ปุ่น เป็นผู้รับมอบในพิธี ซึ่งจัดขึ้นที่ เมืองโยโกฮามา
และ “ญี่ปุ่น” ได้บริจาคอีกครั้ง ทางบริษัท อิเล็คทริค เพาเวอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัดหรือ เจ เพาเวอร์ นำโดย นายโยชิกิ โอโนอิ Executive Officer พร้อมด้วย นายอะคิฮิโคะ ซาคุราอิ, President J-Power Generation (Thailand) Co., Ltd. , มอบเครื่องสูบน้ำคุณภาพสูง จำนวน 130 เครื่อง แบ่งเป็นเครื่องสูบน้ำขนาด 240 ตันต่อชั่วโมง จำนวน 30 เครื่อง และ ขนาด 11 ตันต่อชั่วโมง อีกจำนวน 100 เครื่อง พร้อมกับเครื่องปั่นไฟ
ในกรณีของญี่ปุ่น พอจะเข้าใจได้ว่าน่าที่อาจจะยังมาไม่ถึง เนื่องจาก การขนส่งซึ่งจะต้องใช้ทางเรือ ต้องใช้เวลานาน ผมเป็นวิธีที่ประหยัดค่าขนส่งได้ดีที่สุด หรือการขนส่งโดยทางเครื่องบิน C 130 ในตอนนี้ยังทำไม่ได้ เพราะสถานการณ์อย่างที่เราทราบกันดีว่า น้ำได้ท่วมที่สนามบินดอนเมือง ทำให้เครื่องบินได้รับความเสียหาย ซึ่งทาง C 130 ได้จอดจมน้ำอยู่ที่ดอนเมืองหลายลำ ส่วนจะนำมาใช้ได้ก็ต้องเข้ารับการซ่อมบำรุงตามตาราง ก่อนเพื่อความปลอดภัย
ฉะนั้น จึงกล่าวได้ว่าผมไม่ได้สับสนต่อวิธีการขนส่งแต่ประการใด เพราะทางจีน ได้ส่งมอบมาถึงไทยแล้ว แต่ของญี่ปุ่น “กำลังเดินทางมา”
ผมแค่ต้องการทราบว่าเครื่องสูบน้ำที่ “จีน” ส่งมาให้ไทยไปอยู่ไหนแล้ว แล้วเอาไปใช้อย่างไร ?
ใครทราบกรุณาแจ้งให้ผมทราบหน่อยครับ ผมจะได้ไม่หลงเข้าใจรัฐบาลในแบบผิดๆ หวังว่ารัฐบาลจะไม่ทำผมช้ำใจอีกครั้งนะครับ !!!
Sharing ideas and exchange attitudes
Permalink : http://www.oknation.net/blog/sheva/2011/11/09/entry-1
By the pump. The government of China and Japan. Donations to assist flood in Thailand?
News assistance to Thailand. With the great flood. Which lasted for nearly two months.
By the help that come in the form of donations to facilitate the victim sandbags as water vessels. Solar flashlight, tent, and, most importantly. "Pump".
Deputy Permanent Secretary of the BMA's General junk marshal the support of China has concluded the Chinese government donated a total of 510 air pump is provided by the BMA to provide 255 and 255 machines, which the Ministry of Natural Resources and Environment Department. the resource. Pumps to deliver water to Bangkok
Of the information displayed is to make a donation in the first set of China. The Thai government has been on 22 Oct. 54 Vijaya Mr.Yongyuth ° Agriculture is a delegate of the Deputy Prime Minister HE the Ambassador of China to Thailand's gang.
In this case, many people begin to ask questions. And I doubt that. Pump in the first set, the Thai government has donated it. What was used? Why not be explained by the Pchch. Get to know me at all.
I agree with that agency as the Information Department of the Ministry of Foreign Affairs. Like configuration. Of assistance from abroad and does not explain why the Pchch. To know what was?
It lost me. "Pump".
I think we're making it confusing for example, to accept donations of Japan. That have been donated in the second half. This is the beginning of November, according to the information.
By contrast, Japan. Donated to the Thai government on 5 Nov 54 by Mr. Kyoichi Shibuya Tokyo, Japan's Deputy Minister of Transport. Participate in the ceremony of delivery of the pump 10 to the Thai authorities have said Virasakdi Futrakul, Thai Ambassador in Japan. A delegate at the ceremony. Held at City of Yokohama.
And "Japanese" has donated it to the company's Electric Power Development Co. Development Co., or J-Power is led by Mr. Yoshiki Ono's Executive Officer with Mr. I Kim Hill Oca in life do not. , President J-Power Generation (Thailand) Co., Ltd., the pump is high quality, 130 to a pump 240 tons per hour of 30 and 11 tons per hour and another 100 machines with it. Dynamo.
In the case of Japan. I understand that I may be yet to come because of the transport sector which will require a boat. Take a long time. I was the best way to save shipping costs. Or transportation by aircraft in the C 130 is also impractical. The situation as we know it. Water flooded the airport. The aircraft was damaged by the C 130 was parked at the airport, many were drowned. Parts are used, they must attend the scheduled maintenance. First, for security reasons.
So it was that I did not confuse the means of transport whatsoever, because the Chinese have been delivered to Thailand. But in Japan. "I came."
I just want to know what the pump, the "Chinese" come to Thailand to do it. I have to do?
Does anyone know please let me know me. I do not understand the love in the wrong. I hope the government will not make me hurt again!
Sharing ideas and exchange attitudes
Permalink : http://www.oknation.net/blog/sheva/2011/11/09/entry-1
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น